Skip to main content

การฟื้นฟูแบตเตอรี่เก่า | Reviving old batteries

ICCS

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างและหลักการทํางานของแบตเตอรี่ วิธีการคัดเลือกแบตเตอรี่ การฟื้นฟูแบตเตอรี่ วิธีการวัดค่าความเข้มข้นของน้ำกรดแบตเตอรี่ การใช้งานเครื่องฟื้นฟูแบตเตอรี่ งานตรวจสภาพภายนอกแบตเตอรี่ งานพ่วงแบตเตอรี่ งานเติมน้ำกรดแลน้ำกลั่นแบตเตอรี่ งานตรวจวัดความต้านทานภายในแบตเตอรี่ งานตรวจความถ่วงจําเพาะแบตเตอรี่ งานตรวจสอบค่า CCA ของแบตเตอรี่ งานชาร์จแบตเตอรี่ งานใช้เครื่องฟื้นฟูแบตเตอรี่ งานเปลี่ยนแบตเตอรี่

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้

จำนวนชั่วโมงเรียนรู้ทั้งหมด 3 ชั่วโมงเรียนรู้ (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 1 ชั่วโมง 57 นาที)

วัตถุประสงค์การเรียนรู้

1. บอกหลักการฟื้นฟูแบตเตอรี่ได้

2. เลือกแบตเตอรี่ในการฟื้นฟูได้

3. อธิบายวิธีการวัดค่าความเข้มข้นของน้ำกรดแบตเตอรี่ได้

4. บอกวิธีใช้งานเครื่องฟื้นฟูแบตเตอรี่ได้

คุณสมบัติผู้เรียน

นักเรียน-นักศึกษา และประชาชนทั่วไปที่ต้องการนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ หรือใช้ในชีวิตประจำวัน

เกณฑ์การวัดผล

แบบทดสอบก่อนเรียน..................................ไม่เก็บคะแนน
แบบทดสอบระหว่างเรียนทุกบท....................เก็บคะแนน 60%
แบบทดสอบประมวลความรู้ (Final Exam)....เก็บคะแนน 40%
ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้

ทีมผู้รับผิดชอบรายวิชา MOOC

Course Staff Image #1

อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาหลัก

นายณัฐกิตติ์ ฟักขาว
ตำแหน่ง อาจารย์พิเศษ
สถาบัน วิทยาลัยชุมชนอุทัยธานี

cc

Creative commons สัญญาอนุญาตสิทธิ์

“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”

Enroll